วันอังคารที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2559

7.กฎมายในชีวิตประจำวัน

                                   กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน

1. กฎหมายแพ่งลักษณะครอบครัว
   กฎหมายที่เกี่ยวกับครอบครัวเป็นกฎหมายที่อยู่ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เช่น การหมั้นและการสมรส
   1.1 การหมั้น หมายถึง การที่ชาย หยิงทำสัญญากันว่าจะทำการสมรสกัน ถ้าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งผิดสัญญา อีกฝ่ายหนึ่งย่อมเรียกค่าทดแทนได้
  •  เงื่อนไขการหมั้น ชายและหญิงที่จะทำการหมั้นกันได้นั้นทั้งชายและหญิงจะต้องมีอายุครบ 17 ปีบริบรูณ์ และต้องได้รับความยินยอมจากบิดามารดา อ่านเพิ่มเติม



6.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เป็นกฎหมายลำดับศักดิ์สูงสุดแห่งราชอาณาจักรไทย กฎหมายอื่นใดจะขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญไม่ได้ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครองของประเทศ ซึ่งตั้งแต่ พ.ศ. 2475 ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแล้วทั้งสิ้น 19 ฉบับ อันแสดงให้เห็นถึงความขาดเสถียรภาพทางการเมืองของประเทศ รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557
รัฐธรรมนูญไทยระบุว่าประเทศไทยมีรูปแบบรัฐเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา (เขียนว่า ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข) กำหนดให้มีการแบ่งแยกอำนาจระหว่างอำนาจนิติบัญญัติ บริหารและตุลาการ รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับกำหนดให้ผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งและการแต่งตั้งแตกต่างกันไป เช่นเดียวกับพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ อ่านเพิ่มเติม



5.ระบอบการเมืองการปกครอง

ระบอบการเมืองการปกครอง
ลักษณะการเมืองการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตย คือ ระบอบการปกครองตนเองของประชาชน โดยผ่านการเลือกสมาชิกผู้แทนราษฎรไปบริหารและดูแลเรื่องกฎหมาย เพื่อผลประโยชน์ของประชาชนส่วนใหญ่และโดยการตรวจสอบควบคุมดูแลของประชาชนโดยตรงหรือการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน เช่น การยื่นเสนอหรือแก้ไขกฎหมาย การยื่นถอดถอนนักการเมืองที่ประพฤติมิชอบ การแสดงความคิดในการทำประชาพิจารณ์ การออกเสียงในการทำประชามติ  อ่านเพิ่มเติม



4.สิทธิมนุษยชน

สิทธิมนุษยชน (Human Right)  หมายถึง สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง ทั้งความคิดและการกระทำที่ไม่มีการล่วงละเมิดได้ โดยได้รับการ คุ้มครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และสนธิสัญญาระหว่างประเทศ
                        1.  ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ (Human Dignity) หมายถึง คุณสมบัติ จิตใจ สิทธิเฉพาะตัวที่พึงสงวนของมนุษย์ทุกคน และรักษาไว้มิให้บุคคลอื่นมาล่วงละเมิดได้ การถูกละเมิดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์จึงเป็นสิ่งที่ต้องได้รับการคุ้มครองและ อ่านเพิ่มเติม



3.พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก

พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก
ความหมาย
       พลเมืองดี หมายถึง ประชาชนที่ประพฤติปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคมมีความรับผิดชอบต่อ
หน้าที่ ของตนเอง รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมไม่ละเมิดล่วงล้ำสิทธิ
และเสรีภาพของ บุคคลอื่น
ความสำคัญ
      พลเมืองเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของสังคมของสังคมไทย เช่นเดียวกับสังคมอื่น ๆ ทุกสังคมย่อมต้องการพลเมืองที่มีคุณภาพ ซึ่งหมายถึง อ่านเพิ่มเติม



2.วัฒนธรรมไทย

วัฒนธรรมแห่งชาติของไทย เป็นการสร้างสรรค์ใหม่ซึ่งสิ่งที่ปัจจุบันถือเป็นวัฒนธรรมไทยเดิมไม่มีอยู่ในรูปแบบนั้นเมื่อกว่าร้อยปีก่อน บ่อเกิดสามารถสืบย้อนไปได้ถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมัยสงครามโลกครั้งที่สอง หลวงพิบูลสงครามสนับสนุนการส่งเสริมวัฒนธรรมไทยกลางเป็นวัฒนธรรมแห่งชาตินิยามและยับยั้งมิให้ชนกลุ่มน้อยแสดงออกซึ่งวัฒนธรรมของตน วัฒนธรรมพลเมืองรุ่นปัจจุบันซึ่งส่วนใหญ่ยึดรุ่นอุดมคติของวัฒนธรรมไทยกลางเป็นการสร้างสรรค์ใหม่ซึ่งรวมลักษณะชาตินิยมสมัยรัชกาลที่ 5 ราชย์กัมพูชา และลัทธิอิงสามัญชนที่นิยมบุคคลลักษณะ หรือสรุปคือ  อ่านเพิ่มเติม



1.สังคมมนุษย์

สังคมมนุษย์
ความหมายของสังคม
            สังคม  คือ กลุ่มคนตั้งแต่สองคนขึ้นไป  อาศัยอยู่ร่วมกันในดินแดนแห่งใดแห่งหนึ่ง  เพื่อช่วยเหลือพึ่งพากันและตอบสนองความต้องการพื้นฐานในการดำรงชีวิตซึ่งกันและกัน  กลุ่มคนเหล่านี้มีความสัมพันธ์ต่อกันทั้งโดยตรงและโดยอ้อม
สาเหตุที่มนุษย์อยู่ร่วมกันเป็นสังคม
            มนุษย์ได้ชื่อว่าเป็น สัตว์สังคม เพราะมนุษย์   อ่านเพิ่มเติม